Recording Diary 7
Science
Experiences Management for Early Childhood
Ms.
Jintana Suksamran
October
2, 2557
Group
101 (Thursday)
Time 08.30 - 12.20 PM.
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามเลขที่ เพื่อที่จะไม่ให้นักศึกษาคุยกัน
หลังจากนั้นอาจารย์ได้ให้นักศึกษาประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์จากแกนทิชชู
อุปกรณ์
1. แกนทิชชู
2.
กระดาษสี
3.
กรรไกร
4. ปากกา , ดินสอ (ตกแต่ง)
5. กาไก่
6. ไหมพรหม
7. กาว
ขั้นตอนการทำ
1. เตรียมอุปกรณ์
4. ปากกา , ดินสอ (ตกแต่ง)
5. กาไก่
6. ไหมพรหม
7. กาว
ขั้นตอนการทำ
1. เตรียมอุปกรณ์
2.
ตัดแกนทิชชูแบ่งครึ่งให้เป็น
2 ชิ้น
3.
ตัดรูปวงกลมให้เท่ากันแกนทิชชู
4.
ตัดไหมพรหมให้ได้ ประมาณเท่าชายของแขนเสื้อ
หรือประมาณ 1 วา
5.
ใช้กาไก่เจาะทั้ง 2
ข้างของแกนทิชชู
6.
วาดรูปลงในวงกลมที่ตัดไว้
7.
เอาไหมพรหมร้อยไปที่รูที่เจาะไว้ให้ครบทุกรูแล้วมัดปลายเชือก
8.
เอารูปติดไว้ข้างหน้าของแกนทิชชู
เอาสิ่งที่ประดิษฐ์ฆ้องคอ แล้วให้ชักแกนทิชชูขึ้นลง โดยการที่ใช้มือจับไหมพรหมทั้ง 2 ขั้น แล้วดึกออก หรือกางออกให้เป็นสามเหลี่ยม
วิธีการสอน
อาจารย์สอนโดยการใช้คำถาม เพื่อให้นักศึกษาได้คิด เกิดกระบวนการวิเคราะห์ และได้รู้จักการสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตอนที่ทำกิจกรรม อาจารย์ยังไม่ได้บอกอะไรมากมายนอกจากการบอกว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้างและขั้นตอนการทำสิ่งประดิษฐ์ หลังจากนั้นอาจารย์ก็ถามว่า สิ่งที่ประดิษฐ์นี้มันคืออะไร พลังงานที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวคืออะไร และทำยังไงให้แกนทิชชูขึ้นได้ การเคลื่อนไหวเกิดจากการส่งพลังงานที่มีการถ่ายทอด พอทำปุ๊บ “มันจะเกิดอะไรขึ้น และทำมันขึ้นได้อย่างไร ไหนลองทำดู แล้วก็ทดลองทำ” ทดลองครั้งแรกอาจจะไม่ขึ้น แต่บางคนขึ้น ทำเกิดการสังเกต และการเปรียบเทียบ และหาข้อเท็จจริงว่าทำไมมันถึงขึ้น และทำอย่างไรให้วัตถุมันเคลื่อนที่ คือ พลังงานจล เกิดทักษะกระบวนการสังเกต การลงมือกระทำ ลงมือปฏิบัติ ต้องให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ลงมือกระทำค้นพบความรู้ด้วยตนเองเปรียบเทียบกับเพื่อน และได้ลงมือปฏิบัติ
นำเสนอบทความ
16. สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จาก “เป็ด” และ “ไก่” Click
17. จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบสนุกคิดกับสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Click
18. ส่งเสริมกระบวนการคิดจากเด็ก Click
19. สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ (Nataral Phenomena) Click
20. สอนลูกเรื่องอากาศ Click
- สามารถนำสิ่งประดิษฐ์มาปรับใช้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก
- จากการที่เราได้ลงมือประดิษฐ์ ชินงานเอง จำทำให้เราได้รู้ถึงปัญหา และการแก้ปัญหา เพื่อที่จะนำไปสอนเด็กได้อย่าสมบูรณ์ ที่สุด
- สอนเด็กแบบเปิดโอกาสให้เด็กได้รวมแสดงความคิดเห็น จัดการเรียนการสอนให้เด็กๆสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง และให้เด็กได้เรียนรู้ลงมือทำด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
- สามารถนำสิ่งที่อาจารย์สอนเรื่องการพูดไปใช้ในการเป็นครูปฐมวัยได้ เช่นต้องพูดชัดเจน และต้องมีอ้างอิง
มาเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ร่วมตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นกับอาจารย์ และมีการจดบันทึกเนื้อหา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนส่วนใหญ่เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ และมีการแสดงความคิดเห็น
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่กายถูกระเบียบ พูดชัดถ้อยชัดคำ และสอนให้นักศึกษาคิดอย่างเป็นระบบ และทำให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น