Recording
Diary 13
Science
Experiences Management for Early Childhood
Ms.
Jintana Suksamran
November 13,
2557
Group
101 (Thursday)
Time 08.30 - 12.20 PM.
content (เนื้อหา)
วิจัยเรื่องที่ 1 การส่งเสริมทักษะการสังเกตโดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา
สรุป หลังจากการจัดกิจกรรมเกมการศึกษากับเด็กทำให้เด็กเกิดทักษะการสังเกตที่ดีขึ้น
วิจัยเรื่องที่ 2 ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการเล่านิทาน
สรุป เป็นการเล่านิทานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้เด็กฟัง
เมื่อเด็กๆได้ฟังนิทานจบแล้ว ครูก็จะให้เด็กทำการทดลองตามนิทานที่เด็กได้ฟังมา
วิจัยเรื่องที่ 3 การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กที่มีทักษะต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
สรุป นำเด็กปฐมวัยมาทำการทดสอบด้วยแบบทดสอบ 8
สัปดาห์ เมื่อทดลองเสร็จ นำแบบทดสอบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
นำมาทดสอบซ้ำอีกครั้งแล้วนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบไปวิเคราะห์ข้อมูล
วิจัยเรื่องที่ 4 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
สรุป เมื่อเด็กไดทำกิจกรรมเด็กทำให้เด็กมีทักษะการสังเกต
การจำแนก มิติสัมพันธ์ และทักษะการลงความเห็นมากขึ้น
วิจัยเรื่องที่ 5 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบเน้นกระบวนการ
สรุป เปิดโอกาสให้เด็กลงมือปฏิบัติ
โดยให้เด็กทำแป้งโด แล้วนำแป้งโดมาเล่น ซึ่งตรงกับการสอนแบบ learning
by doing
วิจัยเรื่องที่ 6 การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
สรุป จากการทำการวิจัย
จะพบว่าเด็กมีความคิดวิจารณญาณมากขึ้นกว่าก่อนจัดกิจกรรม
วิจัยเรื่องที่ 7 การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สรุป เป็นการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แก่เด็กปฐมวัย
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเมื่อเด็กได้ทำกิจกรรมแล้ว
เด็กมีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกัน
Teaching methods (วิธีการสอน)
1. ให้เด็กสมารถแก้ปัญหา
2. การใช้คำถามปลายเปิด
3. สรุปรวบยอด
4. สอนให้เด็กเกิดทักษะในการคิดวิเคาระห์
5. ให้เด็กได้กล้าแสดง
6. การนำเสนอ
1. ให้เด็กสมารถแก้ปัญหา
2. การใช้คำถามปลายเปิด
3. สรุปรวบยอด
4. สอนให้เด็กเกิดทักษะในการคิดวิเคาระห์
5. ให้เด็กได้กล้าแสดง
6. การนำเสนอ
Benefits (ประโยชน์ที่ได้รับ)
1. สามารถนำกิจกรรมจากการวิจัยมาต่อยอดเพื่อจัดกิจกรรมเสริมความรู้กับเด็กปฐมวัยได้
2. สามารถนำสิ่งของเหลือใช้รอบตัวมาใช้ในการประดิษฐ์
หรือทดลองในเชิงวิทยาศาสตร์ได้
3. สามารถนำความรู้ในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์มาสอนเด็กได้อย่างหลากหลาย
4. การอ่านวิจัยเยอะ
จะทำให้เรามีประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับปัญหาของเด็กมากขึ้น
แล้วนำมาซึ่งการแก้ปัญหาในอนาคตได้
Evaluation (การประเมินผล)
ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลา
แต่งกายถูกระเบียบ ร่วมตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นกับอาจารย์
และมีการจดบันทึกเนื้อหา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนส่วนใหญ่เข้าเรียนตรงเวลา
แต่งกายถูกระเบียบ และมีการแสดงความคิดเห็นกับอาจารย์
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลา
แต่กายถูกระเบียบ พูดชัดถ้อยชัดคำ อธิบายเนื้อหาและร่วมหาคำตอบไปพร้อมกับนักศึกษา และสอนให้นักศึกษาคิดอย่างเป็นระบบ
ทำให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น